ขับเคลื่อนงานนโยบายกรมปศุสัตว์ จังหวัดอุทัยธานี ตัวชี้วัด DLD-C รอบที่ 2/2566
ก. ค่าเป้าหมายที่ 1 การขับเคลื่อนนโยบายของกรมปศุสัตว์ระดับพื้นที่
1. หนังสือเชิญประชุม และรายงานการประชุมประจำเดือน
< เมษายน 2566 < พฤษภาคม 2566 < มิถุนายน 2566
< กรกฎาคม 2566 < สิงหาคม 2566 < กันยายน 2566
1.2 ภาพประกอบการประชุมประจำเดือน
> เมษายน 2566 > พฤษภาคม 2566 > มิถุนายน 2566 > กรกฎาคม 2566 > สิงหาคม 2566 > กันยายน 2566
*** การประชุมกรณีพิเศษ ไม่มี
2 รายงานสรุปผลการดำเนินการเสนอกรมปศุสัตว์
2.1 โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร
2) รายงานสรุปผลการดำเนินการเสนอกรมปศุสัตว์
3) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor)
- มีการขยายผลสัตว์พันธุ์ดีของกรมปศุสัตว์ ที่เพียงพอกับความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่
- มีเกษตรกรเครือข่ายที่มีความรู้เป็นที่ปรึกษาให้กับเกษตรกรที่มีความสนใจในการเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่
4) ปัญหา อุปสรรค ไม่มี
2.2 โครงการวันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลก ปี 2566
2) รายงานสรุปผลการดำเนินการเสนอกรมปศุสัตว์
3) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor)
- การควบคุมประชากรสุนัขและแมว เป็นมาตรการหนึ่งในการลดจำนวนประชากรเสี่ยงที่อาจจะนำพาโรคพิษสุนัขบ้าไม่ให้แพร่กระจายเป็นการตัดวงจรของโรคพิษสุนัขบ้าซึ่งเป็นโรคสัตว์สู่คน โดยมีการบูรณาการการทำงานร่วมกันทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี ในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ผ่าตัดทำหมันในสุนัขและแมวของประชาชนทั่วไป สัตว์ไม่มีเจ้าของสัตว์ด้อยโอกาส ซึ่งสุนัขและแมวไม่มีเจ้าของในที่สาธารณะ ถือเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ อีกทั้งได้ส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยงสุนัขและแมวอย่างรับผิดชอบมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งจะลดความเสี่ยงของประชาชนจากการสัมผัสเชื้อจากสัตว์เลี้ยงทำให้ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้
4) ปัญหา อุปสรรค ไม่มี
2.3 โครงการขยายพื้นที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ 50,000 ไร่ เพื่อลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์
1) โครงการ 2) รายชื่อเกษตรกรรับเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 3) ภาพรับ-มอบเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสตว์
4) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor) เกษตรกรมีแหล่งพืชอาหารสัตว์คุณภาพดีให้สัตว์ตลอดทั้งปี สัตว์เจริญเติบโตปกติ และลดต้นทุนอาหารสัตว์
5) ปัญหาอุปสรรค ไม่มี
ข. ค่าเป้าหมายที่ 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
1. งานด้านผลิตสัตว์ โครงการฟาร์มเครือข่ายผสมเทียมโคเนื้อเพิ่มรายได้
1.1 แจ้งโครงการฯ เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงาน
1.2 รายชื่อเกษตรกรฟาร์มเครือข่ายผสมเทียมโคเนื้อเพิ่มรายได้
- ภาพประกอบชี้แจงขอความร่วมมือกับเกษตรกร
1.3 รายงานผลการปฎิบัติงานประจำเดือน
> พฤษภาคม 2566 > มิถุนายน 2566 > กรกฎาคม 2566 > สิงหาคม 2566 > กันยายน 2566
1.4 รายงานการเฝ้าระวังโรค
> พฤษภาคม 2566 > มิถุนายน 2566 > กรฎาคม 2566 > สิงหาคม 2566 > กันยายน 2566
1.5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ :(Key Success Factor)
1) ฟาร์มเครือข่ายมีจำนวนโคเพิ่มขึ้น และมีรายได้เพิ่มขึ้น และลดต้นทุน
2) เกษตรกรมีความเข้าใจและความรู้ในการป้องกันโรคระบาด และสามารถให้ความรู้แก่เกษตรกรรายอื่นได้
1.6 ปัญหาอุปสรรค ไม่มี
2. การเฝ้าระวังและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายด้านปศุสัตว์
2.1 ภาพประกอบการ่วมประชุมรับมอบนโยบายผู้บริหารกรมปศุสัตว์
2.2 แผนการปฏิบัติงาน
1) แผนการปฏิบัติงานสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุทัยธานี
> เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2566 > เดือน กันยายน 2566
2) แผนการปฏิบัติงานด่านกักกันสัตว์นครสวรรค์
2.3 ภาพการปฏิบัติงาน
> เดือนกรกฎาคม 2566 > เดือนสิงหาคม 2566 > เดือนกันยายน 2566
2.4 รายงานกิจกรรมการเฝ้าระวังและปราบปรามการกระทำผิดกฎหมายด้านปศุสัตว์
3. ความสำเร็จในการบูรณาการการบริหารจัดการด้านแผนงาน โครงการ กิจกรรม งบประมาณ และทรัพยากรบุคคลสังกัดกรมปศุสัตว์ในพื้นที่
3.1 โครงการกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
1) โครงการส่งเสริมการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
2) เอกสารแสดงการประสานงานราชการระหว่างหน่วยงานของกรมปศุสัตว์
4) รายงานสรุปผลการดำเนินการเสนอกรมปศุสัตว์
5) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor)
- เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงกระบือ เพิ่มรายได้ และการลดต้นทุนในการผลิต
- เกษตรกรมีการพัฒนาศักยภาพการผลิตอาหารสัตว์
4. ปัญหาอุปสรรค ไม่มี
ขับเคลื่อนงานนโยบายกรมปศุสัตว์ จังหวัดอุทัยธานี ตัวชี้วัด DLD-C รอบที่ 1/2566
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกรมปศุสัตว์ ในระดับพื้นที่
1.1 คำสั่งกรมปศุสัตว์ที่ 1164/2565
1.2 คำสั่งกรมปศุสัตว์ที่ 83/2566
1.3 คำสั่งสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุทัยธานี ที่ 2/2566
2. แผนงานและภารกิจของหน่วยงาน
2.1 แผนการปฏิบัติงานด้านตัวชี้วัดตามนโยบายของกรมปศุสัตว์ DLD-C
2.2 แผนงานด้านผลิตสัตว์และส่งเสริมการปศุสัตว์
2.3 แผนงานด้านพัฒนามาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
2.4 แผนงานตามนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวง (Agenda)
2.5 แผนการดำเนินงานตาม (Area Base)
2.6 แผนงานบูรณาการจังหวัดอุทัยธานี
3. การขับเคลื่อนนโยบายของกรมปศุสัตว์ระดับพื้นที่
3.1 การประชุมประจำเดือน
- รายงานการประชุมประจำเดือนข้าราชการและพนักงานราชการสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 2/2566
- รายงานการประชุมประจำเดือนข้าราชการสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 1/2566
3.2 การประชุมกรณีพิเศษ
- หนังสือแจ้งผลการประชุมเพื่อทราบ
- รายงานการประชุมโครงการ "เทศกาลควายไทยอุทัยธานี"ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ครั้งที่ 2/2566
4. รายงานสรุปผลการดำเนินการด้านกระบือ
4.1 รายงานสรุปผลการดำเนินการเสนอกรมปศุสัตว์
4.2 รายงานสรุปผลการดำเนินการ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
5. แสดงผลลัพธ์ในการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายของกรมปศุสัตว์ที่ประสบความสำเร็จ "กระบือ"
1) ช่วยกระตุ้นมูลค่าควายสวยงามให้สูงขึ้น
2) ช่วยกระตุ้นยอดการซื้อขายควายสวยงามเเละน้ำเชื้อเเช่เเข็งควายพ่อพันธุ์ดี
3) เป็นการพัฒนาพันธุกรรมเเละยกระดับโครงสร้างควายในประเทศไทยให้ตัวสูง ใหญ่ ยาว และมีความลึกมากขึ้น
5.1 ภาพแสดงผลลัพธ์ในการดำเนินการ